ขั้นตอนการแก้ปัญหา
โดยนำเสนอในรูปแผนผังความคิดและอธิบายรายละเอียด
1.การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State The Problem)
การระบุข้อมูลออก(output specification) เป็นการกำหนดรูแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการให้แสดงออกมา
การระบุข้อมูลเข้า(input specification) เป็นการกำหนดข้อมูลที่ต้องป้อนเข้า
การกำหนดวิธี(process specification) มีการพิจารณาขั้นตอนหรือวิธีการทำงานที่ใช้ในการหาคำตอบ
2.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development)
เป็นการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่ หลังจากที่ทำความเข้าใจ เราสามารถคาดคะเนวิธีการแก้ไขปัญหา อีกสำคัญในการแก้ปัญหา คือ
ยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหา หรือที่เราเรียกว่า “ขั้นตอนวิธี” (Algorithm) ในการแก้ปัญหา
หลังจากที่เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหาแล้ว ผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องที่สุด
3. การดำเนินการแก้ปัญหา (Implementation) เป็นจั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ไขปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้
4.การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่แก้ไขปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
1.การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State The Problem)
การระบุข้อมูลออก(output specification) เป็นการกำหนดรูแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการให้แสดงออกมา
การระบุข้อมูลเข้า(input specification) เป็นการกำหนดข้อมูลที่ต้องป้อนเข้า
การกำหนดวิธี(process specification) มีการพิจารณาขั้นตอนหรือวิธีการทำงานที่ใช้ในการหาคำตอบ
2.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development)
เป็นการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่ หลังจากที่ทำความเข้าใจ เราสามารถคาดคะเนวิธีการแก้ไขปัญหา อีกสำคัญในการแก้ปัญหา คือ
ยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหา หรือที่เราเรียกว่า “ขั้นตอนวิธี” (Algorithm) ในการแก้ปัญหา
หลังจากที่เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหาแล้ว ผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องที่สุด
3. การดำเนินการแก้ปัญหา (Implementation) เป็นจั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ไขปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้
4.การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่แก้ไขปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง

2.การออกแบบขั้นตอนวิธี จากมุมเทคโนโลยี
ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
1)รับข้อมูลเข้าจากสื่อต่างๆ
2)คำนวณทางคณิตศาสตร์
3)เปรียบเทียบค่าสองค่า
4)เคลื่อนย้ายข้อมูลในหน่วยความจำ
ความสามารถตามลำดับก่อน-หลัง
1)การกำหนดค่าเริ่มต้น(initialization) คือ
การกำหนดค่าตัวแปรบางชนิด
2)การรับข้อมูล(input) คือ
การปรับตัวเข้ามาซึ่งตัวแปรได้จากการวิเคราะห์โจทย์
3)การคำนวณ(computation) คือ
การคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนการคำนวณตามลำดับก่อน-หลัง

4)การแสดงข้อมูล (output) คือ
การแสดงค่า ทำหลังจากการรับข้อมูลและการคำนวณ ตัวแปรที่แสดงค่า คือ
ตัวแปรที่โจทย์ต้องการผลลัพธ์
5)การเปรียบเทียบหรือการเลือก (selection) เป็นการเลือกทิศทางการทำงาน โดยมีเงื่อนไขที่ชัดเจน

6)การเปรียบเทียบเชิงตรรกะ


3.การถ่ายถอดความคิดโดยการแก้ปัญหาในการเขียนบรรยาย
พร้อม 1 ตัวอย่าง
เป็นการถ่ายทอดความคิดโดยการเขียนคำบรรยายเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารกันทั่วไป
จงเขียนแผนผังสำหรับคำนวณหาพื้นที่วงกลม
ทั้งนี้ให้รับค่ารัศมี และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ทางเครื่องพิมพ์
รายละเอียดของปัญหา : คำนวณหาพื้นที่วงกลม
การวิเคราะห์ : ขั้นตอนคำนวณหาพื้นที่วงกลม จากสูตร พื้นที่วงกลม = πr
การออกแบบขั้นตอนวิธี : 1.ข้อมูลออก หรือผลลัพธ์ คือ พื้นที่วงกลม แทนด้วย Area
2.ข้อมูลเข้า คือ รัศมี แทนด้วย r
3.วิธีการประมวลผลดังนี้

4.การถ่ายถอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้สัญลักษณ์
พร้อม 1 ตัวอย่าง
เป็นการถ่ายทอดความคิดในรูปแบบแผนภาพ
ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เรียกว่า การเขียนแผนผัง(flowchart) ใช้สำหรับการสื่อสารขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหาให้เข้าใจตรงกัน
เช่น

5.การถ่ายถอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้รหัสจำลอง
พร้อม 1 ตัวอย่าง
เป็นรหัสคำสั่งที่ใช้เขียนเลียนแบบคำสั่งโปรแกรมอย่างย่อ
รหัสจำลองจะใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ เช่น
